การขับเคลื่อนงานบริการวิชาการเพื่อเครือข่ายชุมชนมหาวิทยาลัยนเรศวร
ลำดับ ประเภทเงิน ชื่อโครงการ งบประมาณทั้งหมด
(บาท)
เบิกจ่ายจริง
(บาท)
หัวหน้าโครงการ จำนวน
หน่วยงาน
จำนวนผู้เข้าอบรม
คน
ปีงบประมาณ
1 เงินรายได้มหาวิทยาลัย โครงการออกหน่วยบริการวิชาการเคลื่อนที่ภาคเหนือตอนล่าง 350,000 239,189 นางสาวศศิวิมล คำเมือง NULL 748 2566
ที่มาของข้อมูล :งานบริการวิชาการเชิงสาธารณะ
พิกัดพื้นที่
แยกสีตามรายอำเภอ
ลำดับ อำเภอ สีพิกัด
1 ชาติตระการ
2 นครไทย
3 บางกระทุ่ม
4 บางระกำ
5 พรหมพิราม
6 วังทอง
7 เนินมะปราง
8 เมืองพิษณุโลก
9 วัดโบสถ์






SDG-1
SDG-3
SDG-8
SDG-12
รายละเอียดข้อมูล
ลำดับ มิติความยั่งยืน เป้าหมายSDGs อำเภอ ตำบล ผลผลิต ผลิตภัณฑ์ / บริการ จำนวน(คน) วันเดือนปี วิทยากร หน่วยงาน เทมเพลต
1 สังคม

เศรษฐกิจ
SDG1  No Povertyให้บริการวิชาการแก่สังคม สร้างชุมชนที่เข้มแข็งและพัฒนาอาชีพสร้างรายได้ในพื้นที่
SDG12  Responsible Consumption and productionให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น
เมืองพิษณุโลก บึงพระ การนำความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาสร้างมูลค่าเพิ่มโดยใช้วัสดุธรรมชาติจากใบไม้ ดอกไม้ที่มีอยู่ในชุมชน
-ผันพันคอEco printing
-กระเป๋าผ้าEco printing
36 11-12 ก.ย.66 1. คุณวรรณชลี กุลศรีไชย

2. คุณเยาวทัศน์ อรรถาชิต

3. คุณอนงค์ วงศ์สุวรรณ์
กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม
2 เศรษฐกิจ

SDG8  Decent Work and Economic Growthให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) ครอบคลุมมิติการจัดการศึกษา การฝึกอบรม และการพัฒนาชีวิตและการพัฒนาตนเอง (Upskill – Reskill)
  
นครไทย นาบัว -การนำองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจากมหาวิทยาลัยเสริมทักษะการทำงานร่วมกันของสภาเด็กและท้องถิ่นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตและนำองค์ความรู้ไปสู่การต่อยอดการพัฒนาและสร้างคุณประโยชน์ให้แก่ชุมชน
-การพัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืนบนฐานกลไกขับเคลื่อนของสภาเด็กโดยการแสดงออกทางความคิดเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เทคโนโลยี สื่อประชาสัมพันธ์นำเสนอตำบลนาบัว
-PAGE FACEBOOK เช็คอิน นาบัว
-การบูรณาการความร่วมมือของสภาเด็กและเยาวชนตำบลนาบัว
45 7-8 ก.ย.66 1.นายศราวุธ สุดงูเหลือม

2.นายจักรินทร์ กลิ่นอาจ

3.นายกำพล กิ๊กสันเทีย
คณะมนุษยศาสตร์

อาจารย์พิเศษคณะมนุษยศาสตร์

คณะสังคมศาสตร์
3 เศรษฐกิจ

SDG8  Decent Work and Economic Growth ให้บริการวิชาการแก่สังคม บูรณาการงานวิจัยต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น
  
เนินมะปราง บ้านมุง -การนำองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยด้านการท่องเที่ยวชุมชนมาพัฒนาความรู้นักสื่อความหมายในการนำเสนอแหล่งท่องเที่ยวและเชื่อมโยงสถานที่และกิจกรรมท่องเที่ยวพร้อมนำเสนอการท่องเที่ยวแก่นักท่องเที่ยว เพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มและเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน
-การผลิตสื่อออนไลน์เพื่อประชาสัมพันธ์สร้างความแตกต่างและความโดดเด่นของแหล่งท่องเที่ยว
-การพัฒนาศักยภาพนักสื่อความหมาย
-การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวบ้านมุงด้วยการทำปฏิทินประเพณีวัฒนธรรมประจำปี
42 9-10 ก.ย.66 รศ.ดร.วศิน ปัญญาวุธตระกูล



คณะสังคมศาสตร์



4 สิ่งแวดล้อม

SDG12  Responsible Consumption and production ให้บริการวิชาการแก่สังคม โดยใช้ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่จะขับเคลื่อนรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืนยิ่งขึ้น
  
ชาติตระการ ชาติตระการ การถ่ายทอดความรู้ด้านการเกษตรปลอดภัยแก่เกษตรกรผู้สนใจเพื่อสนับสนุนการผลิตและการบริโภคปลอดภัยตั้งแต่กระบวนการผลิต
การผลิตปุ๋ยชีวภาพและเทคนิคการปรับปรุงดิน

102 12 ธ.ค.65 ผศ.ดร.วิภา หอมหวล



คณะเกษตรศาสตร์และสิ่งแวดล้อม



5 สังคม

SDG3  Good Health and Well-Being ให้บริการวิชาการแก่สังคม สร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลสุขภาพและให้บริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ให้มีสุขภาพดีถ้วนหน้า ลดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
  
เนินมะปราง เนินมะปราง การนำองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปสมุนไพรมาสาธิตการนำสมุนไพรสู่การใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขพื่อสร้างภูมิคุ้มกันเบื้องต้นให้แก่ประชาชน
การทำลูกประคบสมุนไพรจากสมุนไพรในท้องถิ่น

80 15 มี.ค.66 ผศ.สายจิต สุขหนู



คณะสาธารณสุขศาสตร์



6 สังคม

SDG3  Good Health and Well-Being ให้บริการวิชาการแก่สังคม สร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลสุขภาพและให้บริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ให้มีสุขภาพดีถ้วนหน้า ลดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
  
วังทอง วังทอง การนำองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการแปรรูปสมุนไพรและสาธิตการนำสมุนไพรสู่การใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อสร้างภูมิคุ้มการเบื้องต้นให้แก่ประชาชน โดยสาธิตการผลิตสบู่สมุนไพรจากวัตถุดิบท้องถิ่น
การทำสบู่สมุนไพรจากสมุนไพรในท้องถิ่นด้วยตนเองจากสิ่งที่มีอยู่เพื่อลดค่าใช้จ่าย

103 25 เม.ย.66 อาจารย์วนิดา ถุงคำ



คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์



7 สังคม

SDG3  Good Health and Well-Being ให้บริการวิชาการแก่สังคม สร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลสุขภาพและให้บริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ให้มีสุขภาพดีถ้วนหน้า ลดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
  
เมืองพิษณุโลก ในเมือง การนำองค์ความรู้และความเชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยสู่การถ่ายทอดความรู้ และสาธิตการนำสมุนไพรสู่การใช้ประโยชน์ด้านการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรคประจำถิ่นเพื่อป้องกันโรคด้วยตนเองเบื้องต้น
การทำเจลแอลกอฮอล์ล้างมือต้านโควิดด้วยตนเอง

90 14 มิ.ย.66 นางสาวอมรรัตน์ ม่วงอ่อน



คณะวิทยาศาสตร์



8 สังคม

SDG3  Good Health and Well-Beingให้บริการวิชาการแก่สังคม สร้างภูมิคุ้มกันในการดูแลสุขภาพและให้บริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมกับชุมชนในพื้นที่ให้มีสุขภาพดีถ้วนหน้า ลดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
  
บางระกำ บางระกำ การนำองค์ความรู้และด้านการแพทย์และการพยาบาลสู่การถ่ายทอดความรู้ด้วยการสาธิต “การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิต (CPR)”เมื่อเกิดสถานการณ์ฉุกเฉินในครอบครัวและชุมชนลดการเจ็บป่วยและการเสียชีวิต
ฝึกปฏิบัติการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิต (CPR)

93 12ก.ค.66 ดร.กุลวรา เพียรจริง



คณะพยาบาลศาสตร์



ที่มาของข้อมูล :งานบริการวิชาการเชิงสาธารณะ